สมาธิสั้น ออทิสติก รักษาหายได้

ADHD / ASD เป็นกลุ่มอาการ สมาธิสั้น ที่วินิจฉัยจากการเฝ้าสังเกต พฤติกรรม การแสดงออก สมาธิ อาการอยู่ไม่นิ่ง ไม่สนใจ การเอาใจใส่ในสมาธิสั้นกิจกรรมที่ทำ หุนหันพลันแล่นพร้อมกับมีอาการไม่สบตาสื่อสัมพันธ์กับผู้อื่นได้น้อย นอนไม่สนิทหลับยากที่สำคัญพบว่า สมาธิสั้น และกลุ่มอาการออติสซึมพบเพิ่มมากขึ้น เช่นเดียวกับ หอบหืด และภูมิแพ้ และเป็นเช่นนี้กันทั่วโลกในอเมริกาพบ ASD หนึ่งคนต่อเด็กปกติ 80 คน

ทั้งนี้สามารถบ่งชี้ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมต่างๆกับกรรมพันธ์ โดยมากกว่าร้อยละ 60-90 เปอร์เซ็นต์ มีผลต่อยีนเรียกว่าเป็น Epigenetics สิ่งแวดล้อมนี้รวมถึงระยะก่อนการตั้งครรภ์ ระหว่างการตั้งครรภ์ และหลังคลอด รวมถึงการได้รับวัคซีน 

ในปัจจุบันนับว่า ADHD/ASD หรือโรค สมาธิสั้น ในเด็กเป็นการเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับทุกระบบของร่างกาย (systemic illness) ทั้งสมอง ระบบทางเดินอาหาร ภูมิแพ้ ฮอร์โมน กล้ามเนื้อ เอ็น ขณะเดียวกันพบกลไกความผิดปกติที่เกิดขึ้นหลายอย่าง เช่น ไมโตคอนเดรียในเซลล์ทำงานผิดปกติ (Mitochondria dysfunction) มีการอักเสบเรื้อรัง chronic inflammation และการขาดสารอาหาร หลายอย่าง เช่น การขาดสารอาหาร เกลือแร่ วิตามิน การแพ้อาหารลำไส้ food intolerance มีแบคทีเรียไม่สมดุล (Gut Dysbiosis) การมีโลหะหนักคั่ง (Heavy Metal Toxicity) สารสื่อประสาทในสมองไม่สมดุลและมีระดับต่ำ

มิติใหม่ในการรักษาที่ว่า คือการบูรนาการแก้ไขอาการที่ผิดปกติที่พบ ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละคนซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์เชื้อถือได้และสำเร็จ (Biomedical treatment) เป็นการรักษาที่ไม่ใช้ยากระตุ้น หรือกดระบบประสาท ซึ่งในปัจจุบันได้เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าเป็นการรักษาที่ได้ผลดีในเด็ก สมาธิสั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อให้การรักษาร่วมกับโฮเมโอพาธีย์ (Homeopathy) พฤติกรรมบำบัด กายภาพบำบัด การนวด การฝังเข็ม และอื่นๆ การรักษาโรค สมาธิสั้น จึงจะเป็นการรักษาที่สมบูรณ์แบบที่สมบูรณ์ที่สุด

ขั้นตอนของการรักษาจึงมีความสำคัญ

การพบแพทย์เพื่อปรึกษาทราบขั้นตอน การตรวจประเมินอาการ พฤติกรรม ความผิดทางปัจจัยทางชีวภาพ การตรวจวิเคราะห์ กระบวนการรักษา ของผู้ป่วยที่มีอาการ สมาธิสั้น จึงมีความสำคัญเป็นเบื้องต้น

ขั้นตอนของการรักษา สมาธิสั้น ประกอบด้วย

การซักประวัติ ตรวจประเมินตรวจ ร่างกายทั่วไป, การตรวจประเมิน อาการ พฤติกรรม รวมไปถึงการวางแผนตรวจปัจจัยทางชีวภาพ ของผู้ป่วยโรค สมาธิสั้น ซึ่งแตกต่างกันในแต่ละคนเป็นการตรวจจาก ปัสสาวะ น้ำเหลือง และอุจจาระ ซี่งแบ่งได้เป็นแบบพื้นฐานและแบบพิเศษเฉพาะโดยมีรายละเอียดการตรวจที่สำคัญได้แก่

  1. การตรวจเลือดพื้นฐาน เช่น ความเข้มข้นของเลือด ระดับน้ำตาล เกลือแร่ สารแร่ธาตุไทรอยด์ วิตามิน ดี
  2. การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจการแพ้อาหารแฝง Food Allergy test, การตรวจการคั่งของโลหะหนัก, การตรวจสารสื่อประสาทของสมอง, การตรวจการอักเสบของสมอง, การตรวจขบวนการขับสารพิษของร่างกาย, การตรวจความไม่สมดุลของลำไส้, การตรวจประเมินวิตามิน เกลือแร่ น้ำมันในร่างกาย, การตรวจกรดอะมิโนในร่างกาย ทั้งนี้การเลือกตรวจในแต่ละคนจะแตกต่างกัน ตามความผิดปกติที่พบ

สำหรับท่านใดที่สนใจการตรวจสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการ สมาธิสั้น ดังที่กล่าวมานี้ สามารถคลิ๊กที่นี่เพื่อดูข้อมูลการตรวจทั้งหมด

Leave a reply