إختبار إجهاد الغدة الكظرية

adrenocortical stress test

หลายต่อหลายครั้งที่คนเรามักเพิกเฉยต่อความเครียดและกดดันตัวเองให้ก้าวต่อไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมทุกวันนี้ที่เต็มไปด้วยการแข่งขัน หลายคนได้ปล่อยให้อาการเครียดเข้าครอบงำจิตใจ จนกระทั่งทุกสิ่งมันสายเกินแก้ เหลือไว้แต่ความอ่อนเปลี้ยเพลียแรง ถึงแม้ว่าความเครียดในระดับที่พอเหมาะ ก็เป็นสิ่งดีที่ทำให้เรามีแรงสร้างสรรค์ แต่คำถามสำคัญก็คือ จะทราบได้อย่างไรว่าความเครียดของเราอยู่ในระดับที่พอดี ฉะนั้นแล้วการตรวจสอบการทำงานของต่อมหมวกไต ซึ่งผลิตฮอร์โมนความเครียด จึงมีความจำเป็น เพื่อเราจะได้มั่นใจได้ว่าความเครียดของเรายังคงอยู่ในระดับปกติ

อาการของโรคเครียด

ในแต่ละคนอาจมีอาการเครียดที่แตกต่างกันได้แก่

  • รู้สึกเหนื่อย หมดเรี่ยวแรง
  • นอนไม่หลับ
  • มีอาการซึมเศร้า
  • ความรู้สึกทางเพศหมดไป
  • ขาดพลังแรงสร้างสรรค์
  • ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
  • มีบุตรยาก
  • มีอาการปวดประจำเดือน
  • ประจำเดือนหมด รู้สึกร้อนวูบวาบ
  • อยากอาหาร
  • น้ำหนักตัวเพิ่มขี้น
  • น้ำหนักตัวลดลง
  • อารมณ์แปรปรวน
  • วิตกกังวล
  • หงุดหงิดและประหม่า
  • ระบบขับถ่ายและย่อยอาหารทำงานผิดปกติ (ท้องเสีย, ท้องผูก, ลมแน่น, ปวดท้อง)
  • มีหน้าท้อง
  • รู้สึกหิวโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • มีอาการติดเชื้อไวรัสที่ไม่รุนแรงเป็นประจำ (มีไข้ เป็นหวัด)
  • ขาดสมาธิและความจำไม่ดี
  • ปวดหัว
  • มีอาการแพ้อาหาร และ แอลกอฮอล์ ที่เพิ่มมากขี้น
  • มีอาการทางผิวหนัง (ผื่นแดงคัน)
  • ผิวหนังขาดความอ่อนนุ่ม ยืดหยุ่น

ต่อมหมวกไตอ่อนล้าคืออะไร

ต่อมหมวกไตเป็นต่อมเล็กๆสองต่อมที่ตั้งอยู่บนไตในร่างกายของเรามีหน้าที่หลักคือช่วยจัดการกับความเครียดในร่างกายของคนเรา โดยหลั่งฮอร์โมนความเครียดได้แก่ คอร์ติโซล และ DHEA ออกมา ซึ่งฮอร์โมนดังกล่าวไม่ได้ถูกหลั่งออกมาตลอดเวลา แต่จะเป็นช่วงๆเท่านั้น ซึ่งฮอร์โมนนี้จะหลั่งมากในช่วงเช้า และ หลั่งน้อยลงในช่วงกลางคืน

ในบางครั้งหากร่างกายมีอาการเครียดสะสมขี้นมาก ต่อมเหมวกไตก็อาจทำงานหนัก และหากกลายเป็นอาการเรื้อรังจะทำให้ต่อมหมวกไตอ่อนล้า และผลสุดท้ายก็คือฮอร์โมนความเครียดในกระแสเลือดก็จะขาดความสมดุลย์

การมีฮอร์โมนความเครียดในระดับที่สมดุลย์มีความจำเป็นเนื่องจาก

  • จะช่วยทำให้ร่างกายและจิตใจของเรามีพลังขี้น
  • เสริมสร้างภูมิต้านทานโรคเช่น โรคหวัด ไอ เป็นไข้ ตลอดจนอาการเจ็บป่วยที่รุนแรงอื่นๆ
  • เพิ่มการเผาผลาญในร่างกาย ลดไขมันสะสม และควบคุมความอยากอาหาร
  • ทำให้ความชะลอวัยลดลง ลดอาการปวดท้องหรืออาการอื่นๆขณะมีประจำเดือน
  • ช่วยในการย่อยโปรตีน และทำให้อารมณ์ผ่องใสขี้น
  • มีส่วนช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุน
  • ทำให้ความดันเลือดเป็นปกติ
  • ลดไขมันเลว เช่น LDL ลง

อะไรเป็นสาเหตุุที่ทำให้มีอาการเครียด

ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเครียดได้แก่ การทานอาหารและวิถีชีวิตที่ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ (เช่น การทานอาหารที่กระตุ้นประสาทมากเกินไป เช่น น้ำตาล และคาเฟอีน) การออกกำลังกายหนักเกินไป, อาการบาดเจ็บ, การแต่งงาน, การหย่าร้าง, หนี้สิ้น, การเป็นคน perfectionist หรือ อาการย้ำคิดย้ำทำ, คนขี้อาย, ขาดความมั่นคง ตลอดจนการอยู่อย่างโดดเดี่ยว ตลอดจนชีวิตประจำวัน สิ่งเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดความเครียดขี้นได้ทั้งสิ้น

ความเครียดนี้ถูกวัดได้อย่างไร

เราจะตรวจดูการทำงานของต่อมหมวกไตโดยการวัดการรหลั่งฮอร์โมนความเครียด ได้แก่ คอร์ติซอล และ DHEA

A lot of the time, it is not entirely possible that we know how stressful we are. Especially in the competitive world we live in today, most people do not realize that they are too stressed out until they reach the point where things are out of control and they are left exhausted. Although at a proper level, stress has its merit as it motivates us to move forward. But a question remains, what is the proper level of stress. Hence, by monitoring the functioning of our adrenal glands where stress hormones are produced, we can be sure that we are not overloading ourselves while continue to forge forward.

Possible symptoms of stress

As we are all individual we can respond to stress very differently from the next person.

  • Low energy / fatigue
  • Insomnia
  • Depression
  • Loss of libido
  • Loss of motivation and drive
  • Irregular menstrual cycle
  • Infertility
  • PMS
  • Menopause / hot flushes
  • Cravings
  • Weight gain
  • Weight loss
  • Mood swings
  • Anxiety
  • Panic attacks
  • Nervousness and / or irritability
  • Digestive disturbances (diarrhoea, constipation, bloating, stomach aches/ pains)
  • Abdominal obesity
  • Inexplicable hunger
  • Increased number of minor infections, and viruses (e.g. thrush, cystitis, colds, flu)
  • Poor concentration and memory
  • Headaches
  • Increased sensitivities to food, alcohol intolerance
  • Skin problems (eczema, psoriasis)
  • Loss of skin elasticity

What is adrenal stress?

Two small glands, known as the adrenal glands sit on top of the kidneys and help us deal with life’s stresses by releasing the stress hormones, cortisol and DHEA. These hormones are not released constantly throughout the day. Instead they are secreted in a cycle called the circadian rhythm (sleep/wake cycle), with the highest levels being secreted in the morning and the lowest at night.

Sometimes in periods of long-term or severe mental or physical stress these glands can go into overdrive. If this occurs for too long or too often then the adrenals later become exhausted. When this happens, the hormonal levels of Cortisol, DHEA in the blood stream become imbalanced.

Having balanced stress hormones is particularly important because they

  • Maintain emotional and physical energy
  • Strengthen the immune system against colds, coughs, flu and possibly more serious illness
  • Improve metabolism, help reduce fat storage, and control appetite
  • Slow down the aging process, decrease PMS and menstrual difficulties
  • Aid dietary protein synthesis – helping mood
  • Prevent osteoporosis
  • Maintain healthy blood pressure levels
  • Lower LDL ‘bad’ cholesterol levels

What causes stress?

Factors that may contribute to stress include, negative dietary and lifestyle habits, (including over-consumption of stimulants such as sugar and caffeine), excessive exercise, injury, bereavement, marriage, divorce, debt, attitudes such as perfectionism, obsessive – compulsive behaviors, shyness, insecurity and also isolation and loneliness and of course just everyday life can be a source of stress.

What is being measured?

The adrenals are responsible for the secretion of the body’s major stress hormones, cortisol and DHEA and this is what is measured.

 

في كثير من الأحيان ، ليس من الممكن أن نعرف مدى ضغوطنا. في العالم التنافسي الذي نعيش فيه اليوم ، لا يدرك معظم الناس أنهم متوترون للغاية إلى أن يصلوا إلى النقطة التي تكون فيها الأشياء خارجة عن السيطرة ويتم استنفادها. على الرغم من أنه على المستوى المناسب ، فإن الإجهاد له مزاياه لأنه يحفزنا على المضي قدمًا. ولكن يبقى السؤال ، ما هو المستوى المناسب من التوتر. وبالتالي ، من خلال مراقبة عمل الغدد الكظرية لدينا حيث يتم إنتاج هرمونات التوتر ، يمكننا أن نتأكد من أننا لا نفرط في حملنا بينما نواصل التقدم إلى الأمام.

الأعراض المحتملة للتوتر:

نظرًا لأننا جميعًا من الأفراد ، يمكننا الاستجابة للتوتر بشكل مختلف تمامًا عن الشخص التالي.

إنخفاض الطاقة / التعب  –

الأرق  –

اللإكتئاب  –

فقدان الرغبة الجنسية  –

فقدان الدافع والقيادة  –

عدم انتظام الدورة الشهرية  –

العقم  –

فترة ما بعد الطمث  –

إنقطاع الطمث / الهبات الساخنة  –

الرغبة الشديدة في الهروب من الضغوط  –

زيادة الوزن  –

أو فقدان الوزن  –

تقلب المزاج  –

القلق  –

نوبات الهلع  –

العصبية و / أو التهيج  –

اضطرابات الجهاز الهضمي (الإسهال والإمساك والانتفاخ وآلام / آلام في المعدة)  –

البدانة في منطقة البطن  –

الجوع الذي لا يمكن تفسيره  –

زيادة عدد الإصابات الطفيفة والفيروسات (مثل مرض القلاع والتهاب المثانة ونزلات البرد والإنفلونزا)  –

ضعف التركيز والذاكرة  –

الصداع  –

زيادة الحساسيات تجاه الغذاء وتعصب الكحول  –

مشاكل الجلد (الأكزيما ، الصدفية)  –

فقدان مرونة الجلد  –

ما هو إجهاد الغدة الكظرية؟

توجد غدتان صغيرتان ، تعرفان باسم الغدد الكظرية فوق الكلى وتساعدنا على التعامل مع ضغوط الحياة من خلال إطلاق هرمونات التوتر والكورتيزول و DHEA. لا يتم إطلاق هذه الهرمونات باستمرار طوال اليوم. بدلاً من ذلك ، يتم إفرازهم في دورة تسمى إيقاع الساعة البيولوجية (دورة النوم / الاستيقاظ) ، حيث يتم إفراز أعلى المستويات في الصباح والأدنى في الليل.

في بعض الأحيان في فترات الضغط النفسي أو البدني على المدى الطويل أو الشديد ، يمكن أن تتعرض هذه الغدد للسقوط الزائد. إذا حدث هذا لفترة طويلة جدًا أو كثيرًا ، فستصبح الكظرية في وقت لاحق منهكة. عندما يحدث هذا ، فإن مستويات هرمون الكورتيزول ، دهيا في مجرى الدم تصبح غير متوازنة.

أهمية وجود هرمونات تنظيم الإجهاد المتوازن مهم بشكل خاص بسببها:

الحفاظ على الطاقة العاطفية والجسدية  –

تقوية الجهاز المناعي ضد نزلات البرد والسعال والانفلونزا وربما مرض أكثر خطورة  –

تحسين التمثيل الغذائي ، والمساعدة في تقليل تخزين الدهون ، والسيطرة على الشهية  –

إبطاء عملية الشيخوخة ، وانخفاض الدورة الشهرية وصعوبات الحيض  –

يساعد على تخليق البروتين الغذائي المساعد في المزاج  –

منع هشاشة العظام  –

حافظ على مستويات ضغط الدم الصحية  –

انخفاض مستويات الكوليسترول الضار في LDL  –

ما الذي يسبب التوتر ؟

تشمل العوامل التي قد تساهم في الإجهاد ، العادات الغذائية السلبية ونمط الحياة ، (بما في ذلك الإفراط في استهلاك المنشطات مثل السكر والكافيين) ، والإفراط في ممارسة الرياضة ، والإصابات ، والفجيعة ، والزواج ، والطلاق ، والديون ، والمواقف مثل الكمالية والسلوكيات الوسواسية القهرية. ، الخجل ، انعدام الأمن وكذلك العزلة والوحدة وبالطبع الحياة اليومية فقط يمكن أن تكون مصدرا للتوتر.

 

ماذا الذي يجري قياسه

الغدة الكظرية مسؤولة عن إفراز هرمونات الإجهاد الرئيسية في الجسم ، الكورتيزول و DHEA وهذا هو ما يقاس.