New Year Promotion 2014
ปีใหม่นี้ ต้อนรับสุขภาพที่ดีของท่านด้วยการตรวจหา IgG โรคภูมิแพ้อาหารแฝง Food Intolerance Test กับ Bangkok Health Clinic พร้อมรับส่วนลด 15%
ท่านสามารถติดต่อเราเพื่อใช้โปรโมชั่นนี้ได้ตั้งแต่วันนี้จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2556
Get 15% OFF when you decide to test for Food Intolerance with Bangkok Health Clinic today. Find out what foods you are allergic to and what to avoid or not.
This promotion is only valid until January 31st, 2013. So contact us today for a healthier YOU!
การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง (Food Intolerance Test)
ปฏิเสธไม่ได้ว่า อาหารคือสิ่งจำเป็นสำหรับร่างกายในการเสริมสร้างและซ่อมแซมอวัยวะต่างๆ ซึ่งต้องมีความหลากหลายและปริมาณที่พอเหมาะ จึงจะทำให้เรามีสุขภาพที่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ แต่ในขณะเดียวกัน อาหารที่เหมาะสมกับคนอื่นอาจไม่เหมาะสมกับร่างกายเรา เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันเราไม่ยอมรับ อาหารนั้นก็อาจเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วย และก่อให้เกิดภาวะความเสื่อมไปทั่วร่างกายได้เช่นกัน สิ่งที่เราเรียกว่าอาหารนั้น ก็จะกลายเป็นสารพิษแทน
ทำไมต้องตรวจภูมิแพ้ต่ออาหาร
ร่างกายของคนเรามีปฏิกิริยาตอบสนอง หรือการแพ้อาหารที่เรารับประทานในระดับที่แตกต่างกัน การแพ้อาหารในรูปแบบของผื่นลมพิษ (Urticaria Rash) หรือการหอบหืด (Asthmatic attacks) เป็นรูปแบบการตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมผ่าน Immunoglobulin E หรือ IgE หรือ Acute Food Allergy ซึ่งจะเกิดขึ้นทันทีอย่างรวดเร็วหลังการรับประทานอาหารชนิดนั้นๆ
ปฏิกิริยาอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นได้ช้า นับเวลาเป็นชั่วโมง หรือเป็นวัน หลังการรับประทานอาหารนั้นๆ เป็นรูปแบบการตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งแปลกปลอมผ่าน Immunoglobulin G หรือ IgG หรือ Food Intolerance ปฏิกิริยารูปแบบนี้เกิดจากการรับประทานอาหารชนิดเดิมอย่างซ้ำๆ ซ้ำไปซ้ำมา จนร่างกายแสดงอาการออกมาในรูปแบบการสร้าง IgG ตอบสนองต่ออาหารซึ่งเป็นสิ่งแปลกปลอม อาการแสดงจะแตกต่างกันออกไปในระหว่างบุคคล แต่โดยมากแสดงออกในรูปผื่น อาการคันตามผิวหนัง อ่อนเพลีย ไม่มีแรง รู้สึกง่วงผิดปกติ เมื่อเรายังรับประทานอาหารตัวเดิมต่อ ก็เหมือนเป็นการบั่นทอนสุขภาพ สะสมต่อเนื่องจนก่อให้เกิดปัญหาโรคเรื้อรัง ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่น กลุ่มโรคแพ้ภูมิตนเอง โรคระบบลำไส้รั่ว ลำไส้อักเสบเรื้อรัง หรือแม้แต่เกิดการรบกวนระบบประสาทและความจำ เช่น ในภาวะสมาธิสั้น เครียด ไมเกรน เป็นต้น
ทราบได้อย่างไรว่า อาหารนั้นไม่เหมาะสมกับเรา
อันที่จริง เราสามารถทราบได้ว่าเรามีภาวะภูมิแพ้แอบแฝงกับอาหารชนิดใดนั้นได้ด้วยตัวเอง คือ การสังเกตอาการผิดปกติด้วยตัวเองหลังรับประทานอาหารชนิดนั้นๆ ซึ่งยากมาก ต้องจดสถิติไว้เป็นขั้นเป็นตอน อีกวิธีหนึ่งที่ง่ายกว่าคือ ส่งเลือดตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ Food Allergy IgG หรือ Food Intolerance Test ซึ่งจะรายงานผลการตรวจออกมาเป็นระดับการแพ้ต่ออาหารแต่ละรายการ (ในโรงพยาบาลทั่วไปมักจะตรวจ IgE อย่าง Skin Test) เป็นต้น
การแพ้อาหารแบบแอบแฝง (IgG) ส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง
- ปวดศีรษะ ไมเกรน
- ภาวะสมาธิสั้น
- หดหู่ กังวลใจ
- คัดจมูก น้ำมูกไหล หอบหืด
- แผลในปากเรื้อรัง
- สิว และผดผื่น
- ท้องผูก จุกเสียดแน่นท้อง
- ลดน้ำหนักได้ยาก
- ปวดกล้ามเนื้อ คันหรืออักเสบที่ผิวหนัง
- เคืองตา ปวดกล้ามเนื้อบริเวณรอบตา ขอบตาช้ำ
- คลื่นไส้อาเจียน มีแผลในกระเพาะหรือลำไส้เล็กส่วนต้น
- ท้องเสีย ลำไส้ระคายเคือง (IBS)
- ความผิดปกติทางระบบภูมิคุ้มกัน เช่น โรคแพ้ภูมิตนเอง, โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์, SLE
Food allergies may be one of the most prevalent health problems in our country and are certainly the biggest problem that I see in my clinic. But if you’re like most of my patients, you’re probably thinking, “Not me, I don’t have a food allergy.” Most people think they have a pretty good idea about food allergies. They may know someone who has one and think, “My problem isn’t like theirs.” Or they may just think that food allergies normally result in hives, a rash, or some kind of medical emergency. In fact, food allergies can be the cause of many chronic health problems.
About Food Allergy Test
The immune system functions like a sentinel standing guard against foreign invaders. In the case of an allergy, the invaders are called allergens. The primary weapon that it uses against invaders is the production of antibodies. The antibodies cause reactions that result in the offending allergens being removed from the body. In many people, foods act as allergens rather than nutrition. This can result in the symptoms of IBS.
The immune system produces numerous kinds of antibodies, called immunoglobulins. IgE and IgG are acronyms for the two different kinds of antibodies produced by the immune system in allergic reactions to food. You might be asking why you need to know this. Conventional allergy testing looks for IgE reactions only. These types of reactions typically occur immediately after contact with or ingestion of the allergen, and in some cases can cause serious, even fatal, health problems. Potential IgE reactions include swelling of the lips and tongue, hives, bloating, abdominal pain, or sudden diarrhea. These are the reactions that people usually think of when they hear the word allergy. However, IgE reactions can also lead to many other symptoms not traditionally recognized as being caused by food allergies.
The problem with this type of testing is that most food allergies are not IgE reactions, but are rather IgG reactions, which usually show up hours or even days after ingestion of the allergen. They are generally not nearly as dramatic as the more severe IgE reactions, and usually result in “mere” constipation, diarrhea, bloating, gas and abdominal pain. Both antibodies are important, and food allergy testing should include both or the cause of IBS may be missed.
How is food allergy diagnosed?
To diagnose food allergy, a doctor first must determine if the patient is having an adverse reaction to specific foods. The doctor makes this assessment with the help of a detailed history from the patient, the patient’s dietary diary, or an elimination diet. He or she then confirms the diagnosis by the more objective skin tests, blood tests, or food challenges.
Food Intolerance (IgG) Symptoms
- Headaches, Migraine
- Attention deficit
- Depression, Anxiety
- Runny nose, Asthma
- Chronic mouth ulcer
- Acne and skin rashes
- Constipation, Abdominal distension
- Difficult to lose weight
- Muscle pain or skin inflammation
- Itchy eyes, black circle under eyes (Allergic Shiners)
- Nausea, Gastric ulcer
- Diarrhea, Irritable Bowel Syndrome (IBS)
- Immune function abnormalities such as Autoimmune diseases, Rheumatoid arthritis, SLE
Leave a reply